Page 8 - Km-Introduction to image interpretation1-NewUpdate28-08-59
P. 8
รปู แสดง ภาพชนดิ Infrared (IR) จากดาวเทยี ม Himawari (ประเทศญ่ีปุ่น) แสดงภาพเมฆ และกลุ่ม
เมฆฝนฟ้าคะนองที่ปกคลุมบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกและภาคกลางตอนล่าง
ของประเทศไทย เมอื่ วนั ท่ี 20 มิถนุ ายน 2559 เวลา 22.10 น.
การเพม่ิ ประสิทธภิ าพของภาพ IR (Enhancement technique)
ระดับ Gray Scale ท่ีมาตรฐานจะมี 256 เฉดสี และจะแยกแยะไม่ได้หากช่วงอุณหภูมิท่ีอบอุ่นมาก
หรือเย็นมาก เนื่องจากอุณหภูมิอย่างมีนัยสาคัญทางอุตุนิยมวิทยาไม่เกิน 40? C (104? F) หรือลดลงต่ากว่า -
80? C (-112? F) ซึง่ การแกป้ ัญหาก็คือการใช้ระดบั Gray Scale ในช่วงอณุ หภูมิท่มี ขี นาดแคบ คือ ช่วงอุณหภูมิ
สูงกว่า 40 องศาเซลเซียส หรือช่วงอุณหภูมิต่ากว่า -80 องศาเซลเซียส ซ่ึงมีความสาคัญในการศึกษาสภาพ
อากาศ ช่วยให้เห็นความแตกต่างของช่วงอุณหภูมิท่ีมีขนาดแคบ การเพิ่มประสิทธิภาพนี้เรียกว่าการเพ่ิม
ประสิทธิภาพของภาพอินฟราเรด (Enhancement of IR imagery) เช่น ในแยกแยะส่วนหลักของพายุฝน
ฟ้าคะนอง แยกแยะส่วนของน้าฝนในพายุฝนฟ้าคะนอง ระบุตาพายุ ศึกษาอุณหภูมิของยอดเมฆ ในการบอก
พ้ืนทที่ ี่ฝนตกโดยเฉพาะบริเวณทมี่ ฝี นตกหนักและมลี มแรงใต้ฐานเมฆ เป็นต้น